บริการดูแลรักษาผู้สูงอายุ ทั้งแบบ ประจำและชั่วคราว

  • ดูแลผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้
  • ดูแลผู้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
    • ดูแลให้อาหารทางสายยาง เจาะคอ
    • ดูแลแผลเรื้อรัง
    • ป้องกันแผลกดทับ
    • นอนติดเตียงดูแลตัวเองได้น้อย
  • ดูแลผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อม / อัลไซเมอร์
  • ผู้สูงอายุที่ต้องการการพยาบาลดูแลใกล้ชิด
  • ที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุ (Nursing Home)
  • ดูแลผู้สูงอายุ เช้าไปเย็นกลับ (Day care)

บริการดูแลรักษาผู้ป่วย ช่วยเหลือ ตัวเองไม่ได้

  • ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง
  • ดูแลผู้ป่วยระยะพักฟื้น
  • ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
  • ดูแลผู้ป่วยอัมพาต
  • ดูแลผู้ป่วย ที่พักฟื้นหลังผ่าตัด
    • ผู้ป่วยหลังผ่าตัดเคลื่อนไหวได้น้อย
    • จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู
  • ดูแลผู้ป่วยหลังการให้คีโม
  • ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
    • Stroke อ่อนแรง ปัญหาหลอดเลือดสมอง

บริการทางกายภาพ บำบัดฟื้นฟู

  • การตรวจประเมิน โดยทีมแพทย์
  • การป้องกันและการฟื้นฟูสมรรถภาพของร่างกาย
  • การฟื้นฟูปัญหาทางระบบประสาท อัมพฤกษ์ อัมพาต
  • กายภาพบำบัดโรคปอด ระบบทางเดินหายใจ และทรวงอก
  • กายภาพบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพโรคหัวใจ
  • กายภาพระบบกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ
  • กิจกรรมกระตุ้นสมองและความจำ เพื่อป้องกันอัลไซเมอร์
  • กิจกรรมที่เหมาะสมสำหรับเฉพาะบุคคล
  • การฝึกกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือตนเอง
  • โปรแกรมการดูแลต่อเนื่องหลังจากผู้ป่วยกลับบ้าน

บริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน

  • บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฎิบัติการ
  • ตรวจโดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
  • ทีมพยาบาลและผู้ดูแลวิชาชีพ
  • บริการนัดหมายและส่งต่อโรงพยาบาลภายนอก
  • จ่ายยาโดยเภสัชกร
  • มีนักโภชนาการกำหนดสูตรอาหารที่เหมาะกับ ผู้สูงอายุและผู้ป่วย

ควรพาผู้สูงอายุ ซึ่งป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ไปพบแพทย์เมื่อใด

ในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ไม่สามารถสื่อสารกับผู้ดูแล หรือลูกหลานได้ จึงควรสังเกตอาการของผู้ป่วย หากมีอาการดังต่อไปนี้ ควรรีบพาไปพบแพทย์ทันที

มีไข้ขึ้นสูงเกิน 37 องศา ติดต่อกัน 2-3 วัน หรือร่วมกับการหอบเหนื่อย หากการหายใจของผู้ป่วยมากกว่า 25 ครั้งต่อนาที

มีการชัก ปากเบี้ยว มีอาการปวด ปวดศีรษะ ซึมลง หมดสติ 

มีอาการบวม แดง ร้อนที่แขนหรือขา อาจมีไข้หรือไม่มีไข้ร่วมก็ได้

การขับถ่ายมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ถ่ายบ่อยต่อวัน ถ่ายเหลวเป็นน้ำ ถ่ายมีมูกเลือด ถ่ายเป็นสีดำคล้ายถ่าน หรือท้องผูก

แนะผู้สูงวัย..เคลื่อนไหวร่างกาย ลดความเสี่ยง “กล้ามเนื้อลีบ”

ภาวะ “กล้ามเนื้อลีบ” หรือ Sarcho penia เป็นปัญหาที่พบประมาณ 10% ของผู้สูงวัยที่อายุ 50 ปีขึ้นไป นพ.สันต์ ใจยอดศิลป์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ครอบครัว บอกว่า สาเหตุหลักๆของการเกิดกล้ามเนื้อลีบในคนสูงอายุมี 4 สาเหตุหลักๆคือ