บริการดูแลรักษาผู้สูงอายุ ทั้งแบบ ประจำและชั่วคราว
- ดูแลผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้
- ดูแลผู้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
- ดูแลให้อาหารทางสายยาง เจาะคอ
- ดูแลแผลเรื้อรัง
- ป้องกันแผลกดทับ
- นอนติดเตียงดูแลตัวเองได้น้อย
- ดูแลผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อม / อัลไซเมอร์
- ผู้สูงอายุที่ต้องการการพยาบาลดูแลใกล้ชิด
- ที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุ (Nursing Home)
- ดูแลผู้สูงอายุ เช้าไปเย็นกลับ (Day care)
บริการดูแลรักษาผู้ป่วย ช่วยเหลือ ตัวเองไม่ได้
- ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง
- ดูแลผู้ป่วยระยะพักฟื้น
- ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
- ดูแลผู้ป่วยอัมพาต
- ดูแลผู้ป่วย ที่พักฟื้นหลังผ่าตัด
- ผู้ป่วยหลังผ่าตัดเคลื่อนไหวได้น้อย
- จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู
- ดูแลผู้ป่วยหลังการให้คีโม
- ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
- Stroke อ่อนแรง ปัญหาหลอดเลือดสมอง
บริการทางกายภาพ บำบัดฟื้นฟู
- การตรวจประเมิน โดยทีมแพทย์
- การป้องกันและการฟื้นฟูสมรรถภาพของร่างกาย
- การฟื้นฟูปัญหาทางระบบประสาท อัมพฤกษ์ อัมพาต
- กายภาพบำบัดโรคปอด ระบบทางเดินหายใจ และทรวงอก
- กายภาพบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพโรคหัวใจ
- กายภาพระบบกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ
- กิจกรรมกระตุ้นสมองและความจำ เพื่อป้องกันอัลไซเมอร์
- กิจกรรมที่เหมาะสมสำหรับเฉพาะบุคคล
- การฝึกกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือตนเอง
- โปรแกรมการดูแลต่อเนื่องหลังจากผู้ป่วยกลับบ้าน
บริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน
- บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฎิบัติการ
- ตรวจโดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
- ทีมพยาบาลและผู้ดูแลวิชาชีพ
- บริการนัดหมายและส่งต่อโรงพยาบาลภายนอก
- จ่ายยาโดยเภสัชกร
- มีนักโภชนาการกำหนดสูตรอาหารที่เหมาะกับ ผู้สูงอายุและผู้ป่วย
ควรพาผู้สูงอายุ ซึ่งป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ไปพบแพทย์เมื่อใด
ในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ไม่สามารถสื่อสารกับผู้ดูแล หรือลูกหลานได้ จึงควรสังเกตอาการของผู้ป่วย หากมีอาการดังต่อไปนี้ ควรรีบพาไปพบแพทย์ทันที
มีไข้ขึ้นสูงเกิน 37 องศา ติดต่อกัน 2-3 วัน หรือร่วมกับการหอบเหนื่อย หากการหายใจของผู้ป่วยมากกว่า 25 ครั้งต่อนาที
มีการชัก ปากเบี้ยว มีอาการปวด ปวดศีรษะ ซึมลง หมดสติ
มีอาการบวม แดง ร้อนที่แขนหรือขา อาจมีไข้หรือไม่มีไข้ร่วมก็ได้
การขับถ่ายมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ถ่ายบ่อยต่อวัน ถ่ายเหลวเป็นน้ำ ถ่ายมีมูกเลือด ถ่ายเป็นสีดำคล้ายถ่าน หรือท้องผูก
โรคหลอดเลือดสมอง ( Stroke )
โรคหลอดเลือดสมอง แบ่งได้ 2 กลุ่ม
1. หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (Ischemic stroke)
2. หลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic stroke)
แนะผู้สูงวัย..เคลื่อนไหวร่างกาย ลดความเสี่ยง “กล้ามเนื้อลีบ”
ภาวะ “กล้ามเนื้อลีบ” หรือ Sarcho penia เป็นปัญหาที่พบประมาณ 10% ของผู้สูงวัยที่อายุ 50 ปีขึ้นไป นพ.สันต์ ใจยอดศิลป์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ครอบครัว บอกว่า สาเหตุหลักๆของการเกิดกล้ามเนื้อลีบในคนสูงอายุมี 4 สาเหตุหลักๆคือ